[266] ปิยรูป สาตรูป 6 x 10 (สิ่งที่มีสภาวะน่ารักน่าชื่นใจ เป็นที่เกิดและเป็นที่ดับของตัณหา — delightful and pleasurable things)
หมวด 1 ดู [276] อายตนะภายใน 6
หมวด 2 ดู [277] อายตนะภายนอก 6
หมวด 3 ดู [268] วิญญาณ 6
หมวด 4 ดู [272] สัมผัส 6
หมวด 5 ดู [113] เวทนา 6
หมวด 6 ดู [271] สัญญา 6
หมวด 7 ดู [263] สัญเจตนา 6
หมวด 8 ดู [264] ตัณหา 6
หมวด 9 ได้แก่ วิตก 6 คือ รูปวิตก คันธวิตก รสวิตก โผฏฐัพพวิตก ธัมมวิตก (ความตริตรึกเกี่ยวกับรูป ฯลฯ — thought conception concerning visual forms, etc.)
หมวด 10 ได้แก่ วิจาร 6 คือ รูปวิจาร สัททวิจาร คันธวิจาร รสวิจาร โผฏฐัพพวิจาร ธัมมวิจาร (ความตรองเกี่ยวกับรูป ฯลฯ — thought concerning visual forms, etc.)
D.II.308; M.1.62. ที.ม. 10/297/343; ม.มู. 12/147/120
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พิมพ์ครั้งที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๔๖
หมวด 1
[276] อายตนะภายใน 6 (ที่เชื่อมต่อให้เกิดความรู้, แดนต่อความรู้ฝ่ายภายใน — internal sense-fields) บาลีเรียก อัชฌัตติกายตนะ
1. จักขุ (จักษุ, ตา — the eye)
2. โสตะ (หู — the ear)
3. ฆานะ (จมูก — the nose)
4. ชิวหา (ลิ้น — the tongue)
5. กาย (กาย — the body)
6. มโน (ใจ — the mind)
ทั้ง 6 นี้ เรียกอีกอย่างว่า อินทรีย์ 6 เพราะเป็นใหญ่ในหน้าที่ของตนแต่ละอย่าง เช่น จักษุเป็นเจ้าการในการเห็น เป็นต้น
หมวด 2
[277] อายตนะภายนอก 6 (ที่เชื่อมต่อให้เกิดความรู้, แดนต่อความรู้ฝ่ายภายนอก — external sense-fields) บาลีเรียก พาหิรายตนะ
1. รูปะ (รูป, สิ่งที่เห็น หรือ วัณณะ คือสี — form; visible objects)
2. สัททะ (เสียง — sound)
3. คันธะ (กลิ่น — smell; odor)
4. รสะ (รส — taste)
5. โผฏฐัพพะ (สัมผัสทางกาย, สิ่งที่ถูกต้องกาย — touch; tangible objects)
6. ธรรม หรือ ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่เกิดกับใจ, สิ่งที่ใจนึกคิด — mind-objects)
หมวด 3
[268] วิญญาณ 6 (ความรู้แจ้งอารมณ์ — consciousness; sense-awareness)
1. จักขุวิญญาณ (ความรู้อารมณ์ทางตา รู้รูปด้วยตา, เห็น — consciousness)
2. โสตวิญญาณ (ความรู้อารมณ์ทางหู คือ รู้เสียงด้วยหู, ได้ยิน — ear-consciousness)
3. ฆานวิญญาณ (ความรู้อารมณ์ทางจมูก คือ รู้กลิ่นด้วยจมูก, ได้กลิ่น — nose-consciousness)
4. ชิวหาวิญญาณ (ความรู้อารมณ์ทางลิ้น คือ รู้รสด้วยลิ้น, รู้รส — tongue-consciousness)
5. กายวิญญาณ (ความรู้อารมณ์ทางกาย คือ รู้โผฏฐัพพะด้วยกาย, รู้สึกสัมผัส — body-consciousness)
6. มโนวิญญาณ (ความรู้อารมณ์ทางใจ คือ รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ, รู้ความนึกคิด — mind-consciousness)
ทั้ง 6 นี้ เรียกทั่วไปว่า อารมณ์ 6 คือ เป็นสิ่งสำหรับให้จิตยึดหน่วง
หมวด 4
[272] สัมผัส หรือ ผัสสะ 6 (ความกระทบ, ความประจวบกันแห่งอายตนะภายใน อายตนะภายนอก และวิญญาณ — contact; sense-impression)
1. จักขุสัมผัส (ความกระทบทางตา คือ ตา + รูป + จักขุวิญญาณ — eye-contact)
2. โสตสัมผัส (ความกระทบทางหู คือ หู + เสียง + โสตวิญญาณ — ear-contact)
3. ฆานสัมผัส (ความกระทบทางจมูก คือ จมูก + กลิ่น + ฆานวิญญาณ — nose-contact)
4. ชิวหาสัมผัส (ความกระทบทางลิ้น คือ ลิ้น + รส + ชิวหาวิญญาณ — tongue-contact)
5. กายสัมผัส (ความกระทบทางกาย คือ กาย + โผฏฐัพพะ + กายวิญญาณ — body-contact)
6. มโนสัมผัส (ความกระทบทางใจ คือ ใจ + ธรรมารมณ์ + มโนวิญญาณ — mind-contact)
หมวด 5
[113] เวทนา 6 (การเสวยอารมณ์ — feeling)
1. จักขุสัมผัสสชา เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางตา — feeling arisen from visual contact)
2. โสต ~ เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางหู — from auditory contact)
3. ฆาน ~ เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางจมูก — from olfactory contact)
4. ชิวหา ~ เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางลิ้น — from gustatory contact)
5. กาย ~ เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางกาย — from physical contact)
6. มโน ~ เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางใจ — from mental contact)
หมวด 6
[271] สัญญา 6 (ความกำหนดได้หมายรู้, ความหมายรู้อารมณ์, ความจำได้หมายรู้ — perception)
1. รูปสัญญา (ความหมายรู้รูป เช่นว่า ดำ แดง เขียว ขาว เป็นต้น — perception of form)
2. สัททสัญญา (ความหมายรู้เสียง เช่นว่า ดัง เบา ทุ้ม แหลม เป็นต้น — perception of sound)
3. คันธสัญญา (ความหมายรู้กลิ่น เช่นว่า หอม เหม็น เป็นต้น — perception of smell)
4. รสสัญญา (ความหมายรู้รส เช่นว่า หวาน เปรี้ยว ขม เค็ม เป็นต้น — perception of taste)
5. โผฏฐัพพสัญญา (ความหมายรู้สัมผัสทางกาย เช่นว่า อ่อน แข็ง หยาบ ละเอียด ร้อน เย็น เป็นต้น — perception of tangible objects)
6. ธัมมสัญญา (ความหมายรู้อารมณ์ทางใจ เช่นว่า งาม น่าเกลียด เที่ยง ไม่เที่ยง เป็นต้น — perception of mind-objects)
หมวด 7
[263] เจตนา หรือ สัญเจตนา 6 หมวด (ความจงใจ, ความตั้งใจ, ความจำนง, ความแสวงหาอารมณ์ — volition; choice; will)
1. รูปสัญเจตนา (ความจำนงรูป — volition concerning visible objects; choice of forms; will directed to forms)
2. สัททสัญเจตนา (ความจำนงเสียง — volition concerning audible objects; choice of sounds; will directed to sounds)
3. คันธสัญเจตนา (ความจำนงกลิ่น — volition concerning odorous objects; choice of odors; will directed to odors)
4. รสสัญเจตนา (ความจำนงรส — volition concerning sapid objects; choice of odors; will directed to sapid)
5. โผฏฐัพพสัญเจตนา (ความจำนงโผฏฐัพพะ — volition concerning tangible objects; choice of tangible; objects; will directed to bodily impressions)
6. ธัมมสัญเจตนา (ความจำนงธรรมารมณ์ — volition concerning ideational objects; choice of ideas; will directed to mental objects)
หกอย่างนี้ เรียกเต็มตามศัพท์ว่า เจตนากาย หรือ สัญเจตนากาย 6 (กองเจตนา หมวดเจตนา — bodies of choice; classes of volition)
หมวด 8
[264] ตัณหา 6 (ความทะยานอยาก — craving)
1. รูปตัณหา (อยากได้รูป — craving for forms)
2. สัททตัณหา (อยากได้เสียง — craving for sounds)
3. คันธตัณหา (อยากได้กลิ่น — craving for odors)
4. รสตัณหา (อยากได้รส — craving for tastes)
5. โผฏฐัพพตัณหา (อยากได้โผฏฐัพพะ — craving for tangible objects) 6. ธัมมตัณหา (อยากได้ธรรมารมณ์ — craving for mental objects)
หกอย่างนี้ เรียกเต็มตามศัพท์ว่า ตัณหากาย 6 (กองตัณหา, หมวดตัณหา — bodies or classes of craving)
หมวด 9 ได้แก่ วิตก 6 คือ รูปวิตก คันธวิตก รสวิตก โผฏฐัพพวิตก ธัมมวิตก (ความตริตรึกเกี่ยวกับรูป ฯลฯ — thought conception concerning visual forms, etc.)
หมวด 10 ได้แก่ วิจาร 6 คือ รูปวิจาร สัททวิจาร คันธวิจาร รสวิจาร โผฏฐัพพวิจาร ธัมมวิจาร (ความตรองเกี่ยวกับรูป ฯลฯ — thought concerning visual forms, etc.)
หมวด 1 ดู [276] อายตนะภายใน 6
หมวด 2 ดู [277] อายตนะภายนอก 6
หมวด 3 ดู [268] วิญญาณ 6
หมวด 4 ดู [272] สัมผัส 6
หมวด 5 ดู [113] เวทนา 6
หมวด 6 ดู [271] สัญญา 6
หมวด 7 ดู [263] สัญเจตนา 6
หมวด 8 ดู [264] ตัณหา 6
หมวด 9 ได้แก่ วิตก 6 คือ รูปวิตก คันธวิตก รสวิตก โผฏฐัพพวิตก ธัมมวิตก (ความตริตรึกเกี่ยวกับรูป ฯลฯ — thought conception concerning visual forms, etc.)
หมวด 10 ได้แก่ วิจาร 6 คือ รูปวิจาร สัททวิจาร คันธวิจาร รสวิจาร โผฏฐัพพวิจาร ธัมมวิจาร (ความตรองเกี่ยวกับรูป ฯลฯ — thought concerning visual forms, etc.)
D.II.308; M.1.62. ที.ม. 10/297/343; ม.มู. 12/147/120
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พิมพ์ครั้งที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๔๖
หมวด 1
[276] อายตนะภายใน 6 (ที่เชื่อมต่อให้เกิดความรู้, แดนต่อความรู้ฝ่ายภายใน — internal sense-fields) บาลีเรียก อัชฌัตติกายตนะ
1. จักขุ (จักษุ, ตา — the eye)
2. โสตะ (หู — the ear)
3. ฆานะ (จมูก — the nose)
4. ชิวหา (ลิ้น — the tongue)
5. กาย (กาย — the body)
6. มโน (ใจ — the mind)
ทั้ง 6 นี้ เรียกอีกอย่างว่า อินทรีย์ 6 เพราะเป็นใหญ่ในหน้าที่ของตนแต่ละอย่าง เช่น จักษุเป็นเจ้าการในการเห็น เป็นต้น
หมวด 2
[277] อายตนะภายนอก 6 (ที่เชื่อมต่อให้เกิดความรู้, แดนต่อความรู้ฝ่ายภายนอก — external sense-fields) บาลีเรียก พาหิรายตนะ
1. รูปะ (รูป, สิ่งที่เห็น หรือ วัณณะ คือสี — form; visible objects)
2. สัททะ (เสียง — sound)
3. คันธะ (กลิ่น — smell; odor)
4. รสะ (รส — taste)
5. โผฏฐัพพะ (สัมผัสทางกาย, สิ่งที่ถูกต้องกาย — touch; tangible objects)
6. ธรรม หรือ ธรรมารมณ์ (อารมณ์ที่เกิดกับใจ, สิ่งที่ใจนึกคิด — mind-objects)
หมวด 3
[268] วิญญาณ 6 (ความรู้แจ้งอารมณ์ — consciousness; sense-awareness)
1. จักขุวิญญาณ (ความรู้อารมณ์ทางตา รู้รูปด้วยตา, เห็น — consciousness)
2. โสตวิญญาณ (ความรู้อารมณ์ทางหู คือ รู้เสียงด้วยหู, ได้ยิน — ear-consciousness)
3. ฆานวิญญาณ (ความรู้อารมณ์ทางจมูก คือ รู้กลิ่นด้วยจมูก, ได้กลิ่น — nose-consciousness)
4. ชิวหาวิญญาณ (ความรู้อารมณ์ทางลิ้น คือ รู้รสด้วยลิ้น, รู้รส — tongue-consciousness)
5. กายวิญญาณ (ความรู้อารมณ์ทางกาย คือ รู้โผฏฐัพพะด้วยกาย, รู้สึกสัมผัส — body-consciousness)
6. มโนวิญญาณ (ความรู้อารมณ์ทางใจ คือ รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ, รู้ความนึกคิด — mind-consciousness)
ทั้ง 6 นี้ เรียกทั่วไปว่า อารมณ์ 6 คือ เป็นสิ่งสำหรับให้จิตยึดหน่วง
หมวด 4
[272] สัมผัส หรือ ผัสสะ 6 (ความกระทบ, ความประจวบกันแห่งอายตนะภายใน อายตนะภายนอก และวิญญาณ — contact; sense-impression)
1. จักขุสัมผัส (ความกระทบทางตา คือ ตา + รูป + จักขุวิญญาณ — eye-contact)
2. โสตสัมผัส (ความกระทบทางหู คือ หู + เสียง + โสตวิญญาณ — ear-contact)
3. ฆานสัมผัส (ความกระทบทางจมูก คือ จมูก + กลิ่น + ฆานวิญญาณ — nose-contact)
4. ชิวหาสัมผัส (ความกระทบทางลิ้น คือ ลิ้น + รส + ชิวหาวิญญาณ — tongue-contact)
5. กายสัมผัส (ความกระทบทางกาย คือ กาย + โผฏฐัพพะ + กายวิญญาณ — body-contact)
6. มโนสัมผัส (ความกระทบทางใจ คือ ใจ + ธรรมารมณ์ + มโนวิญญาณ — mind-contact)
หมวด 5
[113] เวทนา 6 (การเสวยอารมณ์ — feeling)
1. จักขุสัมผัสสชา เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางตา — feeling arisen from visual contact)
2. โสต ~ เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางหู — from auditory contact)
3. ฆาน ~ เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางจมูก — from olfactory contact)
4. ชิวหา ~ เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางลิ้น — from gustatory contact)
5. กาย ~ เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางกาย — from physical contact)
6. มโน ~ เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางใจ — from mental contact)
หมวด 6
[271] สัญญา 6 (ความกำหนดได้หมายรู้, ความหมายรู้อารมณ์, ความจำได้หมายรู้ — perception)
1. รูปสัญญา (ความหมายรู้รูป เช่นว่า ดำ แดง เขียว ขาว เป็นต้น — perception of form)
2. สัททสัญญา (ความหมายรู้เสียง เช่นว่า ดัง เบา ทุ้ม แหลม เป็นต้น — perception of sound)
3. คันธสัญญา (ความหมายรู้กลิ่น เช่นว่า หอม เหม็น เป็นต้น — perception of smell)
4. รสสัญญา (ความหมายรู้รส เช่นว่า หวาน เปรี้ยว ขม เค็ม เป็นต้น — perception of taste)
5. โผฏฐัพพสัญญา (ความหมายรู้สัมผัสทางกาย เช่นว่า อ่อน แข็ง หยาบ ละเอียด ร้อน เย็น เป็นต้น — perception of tangible objects)
6. ธัมมสัญญา (ความหมายรู้อารมณ์ทางใจ เช่นว่า งาม น่าเกลียด เที่ยง ไม่เที่ยง เป็นต้น — perception of mind-objects)
หมวด 7
[263] เจตนา หรือ สัญเจตนา 6 หมวด (ความจงใจ, ความตั้งใจ, ความจำนง, ความแสวงหาอารมณ์ — volition; choice; will)
1. รูปสัญเจตนา (ความจำนงรูป — volition concerning visible objects; choice of forms; will directed to forms)
2. สัททสัญเจตนา (ความจำนงเสียง — volition concerning audible objects; choice of sounds; will directed to sounds)
3. คันธสัญเจตนา (ความจำนงกลิ่น — volition concerning odorous objects; choice of odors; will directed to odors)
4. รสสัญเจตนา (ความจำนงรส — volition concerning sapid objects; choice of odors; will directed to sapid)
5. โผฏฐัพพสัญเจตนา (ความจำนงโผฏฐัพพะ — volition concerning tangible objects; choice of tangible; objects; will directed to bodily impressions)
6. ธัมมสัญเจตนา (ความจำนงธรรมารมณ์ — volition concerning ideational objects; choice of ideas; will directed to mental objects)
หกอย่างนี้ เรียกเต็มตามศัพท์ว่า เจตนากาย หรือ สัญเจตนากาย 6 (กองเจตนา หมวดเจตนา — bodies of choice; classes of volition)
หมวด 8
[264] ตัณหา 6 (ความทะยานอยาก — craving)
1. รูปตัณหา (อยากได้รูป — craving for forms)
2. สัททตัณหา (อยากได้เสียง — craving for sounds)
3. คันธตัณหา (อยากได้กลิ่น — craving for odors)
4. รสตัณหา (อยากได้รส — craving for tastes)
5. โผฏฐัพพตัณหา (อยากได้โผฏฐัพพะ — craving for tangible objects) 6. ธัมมตัณหา (อยากได้ธรรมารมณ์ — craving for mental objects)
หกอย่างนี้ เรียกเต็มตามศัพท์ว่า ตัณหากาย 6 (กองตัณหา, หมวดตัณหา — bodies or classes of craving)
หมวด 9 ได้แก่ วิตก 6 คือ รูปวิตก คันธวิตก รสวิตก โผฏฐัพพวิตก ธัมมวิตก (ความตริตรึกเกี่ยวกับรูป ฯลฯ — thought conception concerning visual forms, etc.)
หมวด 10 ได้แก่ วิจาร 6 คือ รูปวิจาร สัททวิจาร คันธวิจาร รสวิจาร โผฏฐัพพวิจาร ธัมมวิจาร (ความตรองเกี่ยวกับรูป ฯลฯ — thought concerning visual forms, etc.)
No comments:
Post a Comment